เครื่องปั๊มลมแบบสกรูแบบลากจูง (Diesel Engine Driven Portable Screw Air Compressors) ยี่ห้อ Sullair จาก USA ได้ทำการวิจัยและพัฒนาเครื่องปั๊มลมแบบสกรูแบบลากจูงมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1965 ให้มีความทนทานต่อทุกสภาวะ ใช้งานง่าย ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาต่ำ ความน่าเชื่อถือในการทำงานสูงสุด ออกแบบมารองรับกับทุกความต้องการสำหรับอุตสาหกรรม
ด้วยเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง Sullair จึงรับประกันชุดสกรูสำหรับปั๊มลมลากจูงเป็นเวลา 5 ปี หรือ 10,000 ชั่วโมง
AIR COMPRESSORS SPECIALIST
ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบลมอัดในโรงงานอุตสาหกรรม
POWER AIR SYSTEM CO., LTD.
บทความ
แนวทางการลดความสูญเสียพลังงานจากการรั่วของอากาศอัด
สาเหตุของปัญหา
โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับปัญหานี้ เพราะยังไม่รู้ถึงมูลค่าความสูญเสียที่เกิดขึ้น เช่น
-
ถ้าโรงงานของท่านใช้เครื่องอัดลมขนาด100แรงม้า (75kw) 1ตัวเดินเครื่อง 24 ช.ม ทำงานปีละ 300 วันค่าไฟฟ้า / เฉลี่ย 3.5 บาท
-
โรงงานจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้า = (75*24*360*3.5 ) = 2,268,000 บาท
-
ถ้าโรงานของท่านเกิดลมรั่ว 10 % , ท่านจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเพิ่มปีละ = 226,800 บาท / ปี
การแก้ไข
-
การรั่วไหลของอากาศอัดมักพบบ่อยที่หน้าแปลนและข้อต่อเกลียว ซึ่งเกิดจากการนำอุปกรณ์ที่ออกแบบมาใช้กับน้ำมาใช้กับลมอัดจึงทำให้เมื่อแก้ไขแล้วปัญหาจะกลับมาเกิดซ้ำอีกไม่สิ้นสุด
-
การแก้ปัญหาที่ถูกต้องจึงต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ในระบบท่อส่งลมออกให้ถูกต้องจึงจะแก้ปัญหาได้อย่างถาวร
ความรู้โดย : นาย นิเพท โตวิริยะเวช (รองกรรมการผู้จัดการบริษัท เพาเวอร์ แอร์ ซิสเต็ม จำกัด) , กรรมการสมาคมบริษัทจัดการพลังงานไทย , สมาชิก ESCO เลขที่ A032 รับรองโดย : สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรมสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ติดตามบทความดีๆ ได้ทาง www.powerairsystem.com
แนวทางการลดความสูญเสียพลังงานจากการรั่วของอากาศอัด
สาเหตุของปัญหา
โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับปัญหานี้ เพราะยังไม่รู้ถึงมูลค่าความสูญเสียที่เกิดขึ้น เช่น
-
ถ้าโรงงานของท่านใช้เครื่องอัดลมขนาด100แรงม้า (75kw) 1ตัวเดินเครื่อง 24 ช.ม ทำงานปีละ 300 วันค่าไฟฟ้า / เฉลี่ย 3.5 บาท
-
โรงงานจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้า = (75*24*360*3.5 ) = 2,268,000 บาท
-
ถ้าโรงานของท่านเกิดลมรั่ว 10 % , ท่านจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเพิ่มปีละ = 226,800 บาท / ปี
การแก้ไข
-
การรั่วไหลของอากาศอัดมักพบบ่อยที่หน้าแปลนและข้อต่อเกลียว ซึ่งเกิดจากการนำอุปกรณ์ที่ออกแบบมาใช้กับน้ำมาใช้กับลมอัดจึงทำให้เมื่อแก้ไขแล้วปัญหาจะกลับมาเกิดซ้ำอีกไม่สิ้นสุด
-
การแก้ปัญหาที่ถูกต้องจึงต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ในระบบท่อส่งลมออกให้ถูกต้องจึงจะแก้ปัญหาได้อย่างถาวร
ความรู้โดย : นาย นิเพท โตวิริยะเวช (รองกรรมการผู้จัดการบริษัท เพาเวอร์ แอร์ ซิสเต็ม จำกัด) , กรรมการสมาคมบริษัทจัดการพลังงานไทย , สมาชิก ESCO เลขที่ A032 รับรองโดย : สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรมสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ติดตามบทความดีๆ ได้ทาง www.powerairsystem.com